นักสาธารณสุขชุมชน คำนี้เริ่มเป็นประเด็นในระบบสุขภาพของไทยตั้งแต่ปี 2556 เมื่อ พ.ร.บ.วิชาชีพสาธารณสุขชุมชน มีผลบังคับใช้ ทำให้นักสาธารณสุขชุมชนเป็นวิชาชีพใหม่ใหม่ในระบบสุขภาพไทย จากวันนั้นถึงวันนี้เรา...
ปอกเปลือกความคิด
การสื่อสารของแพทย์ในมุมมองนักวิชาการด้านการสื่อสาร

คลิปการปะทะกันทางวาจาระหว่างหมอกับญาติผู้ป่วยที่พาผู้ป่วยลงมาจากดอยตอนดึกแล้วถูกไล่กลับบ้านด้วยเหตุผลว่าไม่ใช่กรณีฉุกเฉินเร่งด่วน สะท้อนให้ปัญหาทางการสื่อสารระหว่างบุคลากรทางการแพทย์และผู้ป่วยกับญาติห...
สิ่งที่หายไปในการบริหารสถานการณ์โควิด – 19 ในสายตานักมานุษยวิทยาการแพทย์

กว่า 1 ปีครึ่ง ที่สังคมไทยตกอยู่ภายใต้การควบคุมของเชื้อโควิด – 19 แม้รัฐบาลจะพยายามสรรสร้างมาตรการเพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของโรค แต่สถานการณ์กลับรุนแรงมากขึ้น ยอดผู้ติดเชื้อและยอดผู้เสียชีวิตรายวันสร้า...
โควิดกับการรับมือภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉินของไทย

โควิด-19 อยู่ๆ ก็มาไม่ทันให้ตั้งตัว แล้วก็อยู่นานจนคล้ายกับจะไม่ยอมไปไหน สร้างแรงสั่นสะเทือนให้กับระบบสุขภาพทั่วโลก จนหลายประเทศพังยับเยินเมื่อผู้ป่วยที่ต้องการการรักษาทางการแพทย์มีมากเกินทรัพยากรสุขภ...
Cluster สมุทรสาคร ในมุมมองแพทย์ระบาดวิทยา

กว่า 2 เดือน ที่กิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมของสมุทรสาครต้องชะงักงัน นับจากวันที่ 17 ธันวาคม ที่แม่ค้ากุ้งในตลาดกลางค้ากุ้งถูกพบว่าติดเชื้อโควิด 19 ยอดผู้ติดเชื้อสะสมก็เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ถึงวันที่ ...
จินต์ณิภา ปัญญาวุฒิไกร กับการบุกเบิก Telepharmacy ในประเทศไทย

ต้นเดือนมิถุนายน 2563 สภาเภสัชกรรมออกประกาศกำหนดมาตรฐานและขั้นตอนการให้บริการเภสัชกรรมทางไกล (Telepharmacy) เพื่อเป็นหลักประกันให้แก่ประชาชนที่ต้องการใช้บริการเภสัชกรรมทางไกล หรือการรับบริการทางเภสัชก...