สกูปพิเศษ

ปอกเปลือกความคิด

ริซกี สาร๊ะ: เมื่อสาธารณสุขชุมชนอยากแยกตนจากนักวิชาการสาธารณสุข

ริซกี สาร๊ะ: เมื่อสาธารณสุขชุมชนอยากแยกตนจากนักวิชาการสาธารณสุข

นักสาธารณสุขชุมชน คำนี้เริ่มเป็นประเด็นในระบบสุขภาพของไทยตั้งแต่ปี 2556 เมื่อ พ.ร.บ.วิชาชีพสาธารณสุขชุมชน  มีผลบังคับใช้ ทำให้นักสาธารณสุขชุมชนเป็นวิชาชีพใหม่ใหม่ในระบบสุขภาพไทย จากวันนั้นถึงวันนี้เรา...

การสื่อสารของแพทย์ในมุมมองนักวิชาการด้านการสื่อสาร

การสื่อสารของแพทย์ในมุมมองนักวิชาการด้านการสื่อสาร

คลิปการปะทะกันทางวาจาระหว่างหมอกับญาติผู้ป่วยที่พาผู้ป่วยลงมาจากดอยตอนดึกแล้วถูกไล่กลับบ้านด้วยเหตุผลว่าไม่ใช่กรณีฉุกเฉินเร่งด่วน สะท้อนให้ปัญหาทางการสื่อสารระหว่างบุคลากรทางการแพทย์และผู้ป่วยกับญาติห...

สิ่งที่หายไปในการบริหารสถานการณ์โควิด – 19 ในสายตานักมานุษยวิทยาการแพทย์

สิ่งที่หายไปในการบริหารสถานการณ์โควิด – 19 ในสายตานักมานุษยวิทยาการแพทย์

กว่า 1 ปีครึ่ง ที่สังคมไทยตกอยู่ภายใต้การควบคุมของเชื้อโควิด – 19 แม้รัฐบาลจะพยายามสรรสร้างมาตรการเพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของโรค แต่สถานการณ์กลับรุนแรงมากขึ้น ยอดผู้ติดเชื้อและยอดผู้เสียชีวิตรายวันสร้า...

จากห้องวิจัย

ความพึงพอใจของนายจ้างและผู้รับบริการต่อคุณภาพของนักกายภาพบำบัด

ความพึงพอใจของนายจ้างและผู้รับบริการต่อคุณภาพของนักกายภาพบำบัด

การเป็นสังคมสูงอายุทำให้นักกายภาพบำบัดเป็นบุคลากรด้านสุขภาพที่มีบทบาทสำคัญยิ่ง เพราะรับผิดชอบโดยตรงต่อการบำบัดและฟื้นฟูสมรรถภาพทางกายของผู้สูงอายุ เพื่อไม่ให้เข้าสู่ภาวะของการเป็นผู้ป่วยติดเตียง การผล...

ทันตแพทย์เฉพาะทาง เมื่อจำนวนสวนทางกับผลงาน

ทันตแพทย์เฉพาะทาง เมื่อจำนวนสวนทางกับผลงาน

กระทรวงสาธารณสุขให้ความสำคัญกับการพัฒนาทันตแพทย์เฉพาะทางเพื่อให้ปฏิบัติหน้าที่ในระดับจังหวัดและศูนย์เชี่ยวชาญอย่างจริงจังตั้งแต่ปี 2559 ด้วยการอนุมัติการลาศึกษาต่อเฉพาะทางของทันตแพทย์ และในปี 2563 ทัน...

ตัวชี้วัดหลักกำลังคนด้านสุขภาพของประเทศไทย

ตัวชี้วัดหลักกำลังคนด้านสุขภาพของประเทศไทย

การบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ที่ต้องดำเนินการด้วยความละเอียดอ่อน เพราะกำลังคนด้านสุขภาพ (health workforce) เป็นทั้งผู้สร้างและผู้นำเทคโนโลยีด้านสุขภาพไปใช้ เป็นผู้บริหารจัดการ...

มองรอบโลก

โควิด–19 – ผู้ป่วยมะเร็ง – ห้อง ICU

โควิด–19 – ผู้ป่วยมะเร็ง – ห้อง ICU

เรื่องราวเกี่ยวกับความเห็นและความรู้สึกของแพทย์รักษาผู้ป่วยมะเร็งในประเทศออสเตรเลียท่านหนึ่ง ที่ถูกแพทย์อื่นขอให้ย้ายคนไข้ของเธอซึ่งเป็นมะเร็งระยะสุดท้ายและโอกาสรอดแทบไม่มีออกจากห้อง ICU เพื่อส่งเตียง...

เมื่อโควิด – 19 สั่นคลอนระบบการดูแลระยะยาวในอเมริก

เมื่อโควิด – 19 สั่นคลอนระบบการดูแลระยะยาวในอเมริก

รายงานจากฐานข้อมูล Long-term-care COVID Tracker ซึ่งเป็นระบบติดตามการได้รับผลกระทบจากโควิด -19 ของผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิงของอเมริการะบุว่าในจำนวนผู้เสียชีวิตด้วยโควิด -19 ทั้งหมดของอเมริกาเป็นผู้มีภาว...

พยาบาลฟิลิปปินส์ ทัพหน้ารับมือโควิดในอเมริกา

พยาบาลฟิลิปปินส์ ทัพหน้ารับมือโควิดในอเมริกา

เมื่อไม่นานมานี้มีตัวเลขจากสหภาพพยาบาลแห่งชาติอเมริกา (National Nurse United) เปิดเผยออกมาว่า 24% ของพยาบาลที่เสียชีวิตเพราะโควิด – 19 ในอเมริกา เป็นพยาบาลชาวฟิลิปปินส์ ทั้งๆ ที่พยาบาลฟิลิปปินส์มีเพีย...

วลีผีเสื้อ

สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก

(พ.ศ. /2438-2472)

อาชีพแพทย์นั้นมีเกียรต์ แพทย์ที่ดีจะไม่ร่ำรวยแต่ไม่อดตาย ถ้าใครอยากร่ำรวย ก็ควรเป็นอย่างอื่น ไม่ใช่แพทย์

ฮิปโปเครติส

(460-370 ปีก่อนคริศตกาล)

ที่ใดมีความรักในมนุษยชาติ ที่นั้นย่อมมีความรักในศิลปะแห่งวิชาชีพแพทย์ด้วย

นพ.โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์

ปาฐกถา “Humanized Health Care ใส่หัวใจให้ระบบสุขภาพ” 5 มิถุนายน 2550

ปัญหาที่เป็นโจทย์ใหญ่ของเราก็คือทำอย่างไรให้แพทย์เป็นอุดมการณ์ในทางสังคม พร้อมๆ กับที่เป็นเทคนิคในการรักษาโรค เพราะหากแพทย์ขาดมิติทางอุดมการณ์ก็จะถูกลดทอนคุณค่าลงเหลือแค่เทคนิคของการผ่า การเย็บ และการจ่ายยาเท่านั้น เราไม่สามารถสร้างแพทย์ที่มีหัวใจความเป็นมนุษย์ได้ หากการแพทยย์มีแต่เพียงคุณค่าทางเทคนิคและปราศจากคุณค่าทางสังคม

นพ.วรวุธ โฆวัชรกุล

ผู้อำนวยการโรงพยาบาลสันทราย

เราต่างอหังการในวิชาชีพของเรามากเกินไป หารู้ไม่ว่าศักดิ์ศรีในวิชาชีพของเราเกิดจากการที่เราได้ดูแลผู้อื่น ที่หลายโอกาสเราต้องพึ่งพาพวกเขา เพราะพวกเขารู้ในสิ่งที่เราไม่รู้

World Health Statistics, 2015

จำนวนแพทย์ / ประชากร 10,000 คนในอาเซียน ปี 2558

0 ไทย
0 อินโดนีเซีย
0 สิงคโปร์
0 บรูไน

ข้อมูลทรัพยากรสาธารณสุข สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข

สัดส่วนแพทย์ 1 คน / ประชากรในประเทศไทย ปี 2558

0 เฉลี่ยทั่วประเทศ
0 กรุงเทพฯ
0 นครนายก
0 บึงกาฬ